ข้อมูลพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ด้านกายภาพ
1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
เทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเทิง ห่างจากที่ว่าการอำเภอเทิง ประมาณ 28 กิโลเมตร มีเส้นทางหลวงสายหลักของตำบลเชียงเคี่ยน คือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020 (สายเทิง - เชียงราย)
· ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลดอยลาน อำเภอเมือง
· ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด
· ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลแม่ลอย ตำบลศรีดอนไชย
ตำบลงิ้ว อำเภอเทิง
· ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด
ตำบลดอยลาน อำเภอเมือง
โดยใช้เส้นทางการคมนาคมไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1020 (สายเทิง-เชียงราย) ติดต่อระหว่างตำบลเชียงเคี่ยนกับอำเภอเทิง และตำบลเชียงเคี่ยนกับจังหวัดเชียงราย และเส้นทางถนนทางหลวงชนบท หมายเลข ชร 4002 บ้านสารภี-หนองสองห้อง เพื่อเดินทางจากเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนไปจังหวัดเชียงราย และถนนสายบ้านป่ากุ๊ก-บ้านก๊อ เลขที่ ชร 5029 เพื่อเดินทางจากเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนไปยังอำเภอเทิง
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นพื้นที่ราบสูงระหว่างหุบเขา ประมาณ 50% ของพื้นที่ นอกจากนั้นเป็นที่ราบมีเนื้อที่โดยประมาณ 76.3 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 47,688 ไร่
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศของเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน แตกต่างกันไปตามตำแหน่งและความ สูงต่ำของพื้นที่ และเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ส่วนมากมีอากาศค่อนข้างเย็นสบาย มีอุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ยเท่ากับ 29-34 องศา เซลเซียส ในเดือนเมษายน ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดโดยเฉลี่ยเท่ากับ 21-22 องศาเซลเซียสในเดือน ธันวาคม
1.4 ลักษณะของดิน
ลักษณะดินทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย ดินลูกรัง และดินเหนียว
1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ
จำนวนแหล่งน้ำธรรมชาติมีแหล่งน้ำที่สำคัญได้แก่ ห้วยคำ,แม่น้ำพุง, อ่างเก็บน้ำตำบลเชียงเคี่ยน,ห้วยมะหนอด,ร่องเคียน,ห้วยละโว้,คลองชลประทาน,หนองแหย่ง,หนองแซะ,หนองจำอ้อใต้,ห้วยแม่ลอย
จำนวนแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. ฝาย จำนวน 4 แห่ง
2. บ่อโยก จำนวน 4 แห่ง
3. บ่อบาดาล จำนวน 8 แห่ง
4. อ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง
1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้
มีลักษณะของไม้และป่าไม้เป็นป่าไม้เบญจพรรณ
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
เขตที่ |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
ผู้นำหมู่บ้าน |
ตำแหน่ง |
สมาชิกสภา |
1 |
1 |
บ้านเชียงเคี่ยน |
นายอนุชา ผาบไชย |
ผู้ใหญ่บ้าน |
นายอิ่นคำ อินชนะ นายสุมิต กันทะวิชัย นายเมธาสิทธิ์ อินชนะ นายมานพ ใจกุล นายวิธี ไชยชุมศักดิ์ นายโชติ วัฒนา |
3 |
บ้านก๊อ |
นายสวัสดิ์ ชุมภูวงศ์ |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
7 |
บ้านป่ากุ๊ก |
นายสุทธิพงษ์ พรมรินทร์ |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
8 |
บ้านภูเขาแก้ว |
นายโชคชัย ปะละโน |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
10 |
บ้านเชียงเคี่ยนเหนือ |
นายดนัย ใจทนงค์ |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
11 |
บ้านก๊อใต้ |
นายสว่าง ซาวน้ำอ้อม |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
2 |
2 |
บ้านสันชุม |
นายสุนทร วงศ์ชัย |
ผู้ใหญ่บ้าน |
นายอาทิตย์ ปิจอุด น.ส.สุวรรณภา ดาราวัล นายจำนงค์ บุญยอด นายสอาด โปธิสาร นายบุญมี สุวรรณะ นายฤทธิ์ จินดาคำ |
4 |
บ้านสันปูเลย |
นายมานัส นรรัตน์ |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
5 |
บ้านสารภี |
นายวิทยา กันทะวัชัย |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
6 |
บ้านโป่งช้าง |
นายสุวัจชัย ราชสาร |
ผู้ใหญ่บ้าน |
||
9 |
บ้านสันทราย |
นายณรงค์ ราชเปียง |
กำนันตำบลเชียงเคี่ยน |
||
12 |
บ้านใหม่สันชุม |
นายผัด วรรณศรี |
ผู้ใหญ่บ้าน |
3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
แยกตามหมู่บ้านในพื้นที่
หมู่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน(หลังคา) |
จำนวนประชากร รพ.ส่งเสริมสุขภาพ |
จำนวนประชากร สำนักทะเบียนอำเภอเทิง |
ข้อมูลประชา กรแฝง |
||||
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
||||
1 |
เชียงเคี่ยน |
142 |
103 |
118 |
221 |
106 |
130 |
236 |
- |
2 |
สันชุม |
160 |
135 |
139 |
274 |
131 |
141 |
272 |
5 |
3 |
ก๊อ |
159 |
201 |
193 |
394 |
186 |
195 |
381 |
25 |
4 |
สันปูเลย |
202 |
196 |
212 |
408 |
199 |
223 |
422 |
- |
5 |
สารภี |
235 |
243 |
280 |
523 |
247 |
265 |
512 |
- |
6 |
โป่งช้าง |
108 |
100 |
98 |
198 |
110 |
96 |
206 |
- |
7 |
ป่ากุ๊ก |
133 |
130 |
124 |
254 |
121 |
119 |
240 |
- |
8 |
ภูเขาแก้ว |
189 |
219 |
222 |
441 |
219 |
214 |
422 |
19 |
9 |
สันทราย |
215 |
223 |
233 |
456 |
227 |
229 |
456 |
11 |
10 |
เชียงเคี่ยนเหนือ |
165 |
191 |
176 |
367 |
183 |
167 |
350 |
- |
11 |
ก๊อใต้ |
136 |
172 |
188 |
360 |
163 |
179 |
342 |
- |
12 |
ใหม่สันชุม |
132 |
150 |
152 |
302 |
157 |
165 |
322 |
- |
รวมทั้งสิ้น |
1,872 |
2,063 |
2,135 |
4,198 |
2,049 |
2,123 |
4,172 |
60 |
ข้อมูลแยกเป็นพื้นที่ตามสำนักทะเบียนกรมการปกครอง อ.เทิง ณ 24 มิถุนายน 2567
3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร
แยกตามช่วงชั้นอายุ
ช่วงอายุ (ปี) |
ชาย (คน) |
หญิง (คน) |
รวม(คน) |
หมายเหตุ |
0 - 9 ปี |
137 |
118 |
255 |
- |
10 - 19 ปี |
183 |
159 |
342 |
- |
20 - 29 ปี |
224 |
222 |
446 |
- |
30 - 39 ปี |
272 |
239 |
511 |
- |
40 - 49 ปี |
263 |
282 |
545 |
- |
50 - 59 ปี |
383 |
429 |
812 |
- |
60 ปี ขึ้นไป |
410 |
1,028 |
1,165 |
- |
รวม |
1,872 |
2,477 |
4,076 |
- |
4. สภาพทางสังคม
4.1 ทางการศึกษา
1.โรงเรียนการประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง
-โรงเรียนบ้านเชียงเคี่ยน
-โรงเรียนบ้านก๊อ
-โรงเรียนบ้านสันชุม
2.โรงเรียนมัธยมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาถึง ม.3 จำนวน 1 แห่ง
-โรงเรียนบ้านสันชุม
3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเชียงเคี่ยน จำนวน 1 แห่ง
4.ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน (บ้านสันทราย หมู่ 9) จำนวน 1 แห่ง
5.ศูนย์ข้อมูลข่าวสารตำบลเชียงเคี่ยน (อินเตอร์เน็ตตำบล) จำนวน 1 แห่ง
4.2 ทางด้านศาสนา
1.วัด จำนวน 7 แห่ง
-วัดไชยผาบ หมู่ที่ 1 -วัดสารภี หมู่ที่ 5
-วัดสันชุม หมู่ที่ 2 -วัดโป่งสัก หมู่ที่ 6
-วัดต้นก๊อ หมู่ที่ 3 -วัดภูเขาแก้ว หมู่ที่ 8
-วัดสันปูเลย หมู่ที่ 4
2.สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
-สำนักสงฆ์บ้านเชียงเคี่ยนเหนือ หมู่ 10
4.3 ด้านสาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเชียงเคี่ยน จำนวน 1 แห่ง จำนวน บุคลากร 9 คน
5 อันดับแรกของโรคที่ป่วยสูงสุด ของปีงบประมาณ 2566
ลำดับ |
สาเหตุการป่วย |
จำนวน(ราย) |
หมายเหตุ |
1 |
โรคเนื้อเยื่อผิดปกติ |
1,089 |
|
2 |
โรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ |
1,079 |
|
3 |
โรคการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลันอื่นๆ |
876 |
|
4 |
โรคเบาหวาน |
698 |
|
5 |
โรคความผิดปกติอื่นๆของฟันและโครงสร้าง |
693 |
|
ที่มาของข้อมูล รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลเชียงเคี่ยน 30 กันยายน 2566
5 อันดับแรกของโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางด้านระบาดวิทยา ของปีงบประมาณ 2566
ลำดับ |
สาเหตุการตาย |
จำนวน(ราย) |
หมายเหตุ |
1 |
โรคอุจจาระร่วง |
21 |
|
2 |
ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 |
8 |
|
3 |
อาหารเป็นพิษ |
5 |
|
4 |
อีสุกอีใส |
2 |
|
5 |
ตาแดง |
1 |
|
ที่มาของข้อมูล รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลเชียงเคี่ยน 30 กันยายน 2566
สาเหตุการตาย 5 อันดับแรก ของปีงบประมาณ 2564
ลำดับ |
โรคที่ต้องเฝ้าระวัง |
จำนวน(ราย) |
หมายเหตุ |
1 |
วัยชรา |
9 |
|
2 |
มะเร็งท่อน้ำดีในตับ |
3 |
|
3 |
การติดเชื้ออื่นในกระแสเลือด |
2 |
|
4 |
ไตวายเรื้อรัง |
2 |
|
5 |
เลือดออกในสมองไม่ระบุรายละเอียด |
1 |
|
ที่มาของข้อมูล รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลเชียงเคี่ยน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 มิถุนายน 2564
4.4 อาชญากรรม
-
4.5 ยาเสพติด
-
5
4.6 ด้านสังคมสงเคราะห์ (เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,คนพิการ,ผู้ติดเชื้อ,ผู้ประสบภัย) ปี 2567 ดังนี้
หมู่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนผู้สูง อายุ |
จำนวนคนพิการ |
จำนวนผู้ ติดเชื้อ |
จำนวนผู้ประสบภัย (คน) |
||||
ภัยหนาว |
อุทกภัย |
อัคคีภัย |
วาตภัย |
ภัยแล้ง(ลิตร) |
|||||
1 |
บ้านเชียงเคี่ยน |
76 |
7 |
4 |
- |
- |
- |
- |
600,000 |
2 |
บ้านสันชุม |
83 |
18 |
5 |
- |
- |
- |
- |
- |
3 |
บ้านก๊อ |
72 |
14 |
4 |
- |
- |
- |
- |
- |
4 |
บ้านสันปูเลย |
157 |
10 |
5 |
- |
- |
- |
4 |
- |
5 |
บ้านสารภี |
162 |
19 |
2 |
- |
- |
- |
5 |
- |
6 |
บ้านโป่งช้าง |
62 |
7 |
1 |
- |
- |
- |
- |
210,000 |
7 |
บ้านป่ากุ๊ก |
80 |
4 |
1 |
- |
- |
- |
- |
- |
8 |
บ้านภูเขาแก้ว |
119 |
27 |
0 |
- |
- |
- |
- |
600,000 |
9 |
บ้านสันทราย |
121 |
18 |
7 |
- |
- |
- |
7 |
- |
10 |
บ้านเชียงเคี่ยนเหนือ |
97 |
21 |
3 |
- |
- |
- |
- |
21,000 |
11 |
บ้านก๊อใต้ |
85 |
10 |
5 |
- |
- |
- |
- |
- |
12 |
บ้านใหม่สันชุม |
78 |
15 |
8 |
- |
- |
- |
- |
- |
รวมทั้งสิ้น |
1,192 |
170 |
45 |
- |
30 |
- |
16 |
1,431,000 |
ที่มา ข้อมูลสำนักงานเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน มิถุนายน 2567
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
เส้นทางการคมนาคมไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1020 (สายเทิง-เชียงราย) ติดต่อระหว่างตำบลเชียงเคี่ยนกับอำเภอเทิง และตำบลเชียงเคี่ยนกับจังหวัดเชียงราย และเส้นทางถนนทางหลวงชนบท หมายเลข ชร 4002 บ้านสารภี-หนองสองห้อง เพื่อเดินทางจากเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนไปจังหวัดเชียงราย และถนนสายบ้านป่ากุ๊ก-บ้านก๊อ เลขที่ ชร 5029 เพื่อเดินทางจากเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนไปยังอำเภอเทิง
5.2 การไฟฟ้า
พื้นที่เทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน มีไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านทั้งจากสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอป่าแดด และสำนักงานการไฟฟ้าอำเภอเทิง
5.3 การประปา
พื้นที่เทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนมีประปาใช้ทุกหมู่บ้าน ทั้งจากงบประมาณของเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน,กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,รพช.,และกรมอนามัย
5.4 โทรศัพท์
ประชากรส่วนมากใช้โทรศัพท์มือถือ ซึ่งมีสัญญาณโทรศัพท์มือถือ 3 เครือข่ายขึ้นไป
5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
หมายเลขไปรษณีย์สาขาปล้อง 57230
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 57.27 ของพื้นที่ พืชเศรษฐกิจส่วนใหญ่ คือข้าวและลำไย รองลงมาคือยางพารา และมีการปลูกมันสำปะหลังและข้าวโพดบางส่วน
6.2 การประมง
ส่วนมากเกษตรกรจะจับปลาจากแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อกินและเหลือขายเป็นบางส่วน อาชีพเลี้ยงสัตว์น้ำมีน้อยมาก
6.3 การปศุสัตว์
ประชากรบางส่วนเลี้ยงไก่, ไก่ไข่เพื่อบริโภคและขาย และเลี้ยงโคและกระบือเป็นส่วนน้อย
6.4 การบริการ
อาชีพค้าขาย/ให้บริการ คิดเป็นร้อยละ 4.85
6.5 การท่องเที่ยว
ไม่มี
6.6 อุตสาหกรรม
ในพื้นที่ตำบลเชียงเคี่ยน มีโรงงานอุตสาหกรรม 1 แห่ง คือโรงอบลำไย ซึ่งจ้างแรงงานจากประชาชนในพื้นที่
6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
กลุ่ม |
ที่ตั้ง (หมู่ที่) |
จำนวนสมาชิก (ราย) |
กิจกรรม |
1. กลุ่มเกษตรพัฒนา (กลุ่มข้าว) |
หมู่ที่ 1 |
150 |
จัดหาปุ๋ย เมล็ดพันธุ์มาจำหน่ายให้สมาชิกกลุ่ม |
2. กลุ่มน้ำพริกลาบ |
หมู่ที่ 1 |
20 |
จัดทำน้ำพริกลาบเพื่อจำหน่าย |
3. กลุ่มหน่อไม้ดอง |
หมู่ที่ 2 |
20 |
แปรรูปหน่อไม้เพื่อจำหน่ายและบริโภค |
4. กลุ่มกลุ่มทำดอกไม้ประดิษฐ์ |
หมู่ที่ 2 |
15 |
ทำดอกไม้ประดิษฐ์เพื่อจำหน่าย |
5. กลุ่มทำดอกไม้ประดิษฐ์แห้ง-สด |
หมู่ที่ |
15 |
ทำดอกไม้ประดิษฐ์แห้ง-สดเพื่อจำหน่าย |
6. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงผึ้งตำบลเชียงเคี่ยน |
หมู่ที่ 4 |
17 |
เลี้ยงผึ้งเพื่อแปรรูปและจำหน่าย |
7. กลุ่มพัฒนาสตรีเย็บผ้า |
หมู่ที่ 4 |
25 |
ตัดเย็บผ้าห่มเพื่อจำหน่าย |
8. กลุ่มทำน้ำยาอเนกประสงค์ |
หมู่ที่ 5 |
20 |
ทำน้ำยาอเนกประสงค์ใช้ในครัวเรือนและจำหน่าย |
9. กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ |
หมู่ที่ 6 |
15 |
จักสานจกไม้ไผ่เพื่อใช้ในครัวเรือนและ จำหน่าย |
10. กลุ่มพัฒนาสตรีเย็บผ้า |
หมู่ที่ 6 |
30 |
ตัดเย็บผ้าห่มเพื่อจำหน่าย |
11. กลุ่มตัดเย็บผ้าห่ม |
หมู่ที่ 7 |
15 |
ตัดเย็บผ้าห่มเพื่อจำหน่าย |
12. กลุ่มเกษตรพืชไร่ |
หมู่ที่ 8 |
25 |
จัดหาปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ให้สมาชิก |
13. กลุ่มเย็บผ้า(กลุ่มพัฒนาสตรี) |
หมู่ที่ 9 |
15 |
ตัดเย็บผ้าห่มและพรมเช็ดเท้า |
กลุ่ม |
ที่ตั้ง (หมู่ที่) |
จำนวนสมาชิก (ราย) |
กิจกรรม |
14. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำดื่มสันทราย |
หมู่ที่ 9 |
55 |
จัดทำน้ำดื่มเพื่อจำหน่ายและบริโภค |
15. กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ |
หมู่ที่ 9 |
50 |
จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพใช้ในการเกษตรและจำหน่าย |
16. กลุ่มข้าว |
หมู่ที่ 10 |
120 |
จัดหาปุ๋ย เมล็ดพันธุ์มาจำหน่ายให้สมาชิกกลุ่ม |
17. กลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ |
หมู่ที่ 11 |
15 |
จัดทำดอกไม้ประดิษฐ์เพื่อจำหน่าย |
18. กลุ่มผ้าปักลวดลายบาติก |
หมู่ที่ 12 |
10 |
จัดทำผ้าปักลวดลายบาติกเพื่อจำหน่าย |
6.8 แรงงาน
แรงงานส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป แรงงานอุตสาหกรรมบางส่วน
7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
7.1 การนับถือศาสนา
ตำบลเชียงเคี่ยนมีประชาชนในพื้นที่ นับถือศาสนาแยกตามศาสนาที่นับถือ ได้ดังนี้
-ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99.86
-ศาสนาคริสต์ คิดเป็นร้อยละ 0.08
-ศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 0.03
-ศาสนาซิกข์ คิดเป็นร้อยละ 0.03
ที่มา ข้อมูล จปฐ.ตำบลเชียงเคี่ยน ประจำปี 2563
7.2 ประเพณีและงานประจำปี
-งานของดี ศรีเชียงเคี่ยน
-ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
-ประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ
-บูชาเจ้าพ่อม่อนแดง
-ประเพณีสรงน้ำพระธาตุ
7.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น –เครื่องจักสาน
ภาษาถิ่น -ภาษาล้านนา
7.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
-ลำไย
-ข้าว
-หน่อไม้ดอง
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
8.1 น้ำ
ทรัพยากรน้ำมีมากในช่วงฤดูฝนแต่จะขาดแคลนในช่วงฤดูร้อน ประมาณเดือนมีนาคม - กรกฎาคม จำนวนแหล่งน้ำธรรมชาติมีแหล่งน้ำที่สำคัญได้แก่ ห้วยน้ำลอย,ห้วยคำ,แม่น้ำพุง, อ่างเก็บน้ำตำบลเชียงเคี่ยน,ห้วยมะหนอด,ร่องเคียน,ห้วยละโว้,คลองชลประทาน,หนองแหย่ง,หนองแซะ,หนองจำอ้อใต้
จำนวนแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. ฝาย จำนวน 4 แห่ง
2. บ่อโยก จำนวน 4 แห่ง
3. บ่อบาดาล จำนวน 8 แห่ง
4. อ่างเก็บน้ำ จำนวน 2 แห่ง
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ส่วนมากใช้น้ำเพื่ออุปโภค – บริโภคจากประปาประจำหมู่บ้าน และน้ำดื่มหยอดเหรียญ ส่วนน้อยใช้น้ำจากบ่อบาดาล
8.2 ป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้เป็นแหล่งอาหารของประชาชน เช่น เห็ด,หน่อไม้,ดอกไม้ป่า,สัตว์ป่า,ผักป่าต่างๆเป็นป่าไม้เบญจพรรณ
8.3 ภูเขา
มีภูเขาสูงและที่ราบระหว่างหุบเขาประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
8.4 ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในพื้นที่ของเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยนส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก เป็นที่นา ไร่ สวน ที่อยู่อาศัย ร้านค้า ตามลำดับ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ น้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ ในพื้นที่ของสาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงาม เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ฯลฯ
9. อื่นๆ
9.1 ข้อมูลคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน
1. นายบุญมี ใจอ้าย นายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน
2. นายสาคร อินทร์ชน รองนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน
3. นายสนั่น เชื้อเมืองพาน รองนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน
4. นางนริศรา พระศิริ เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน
5. นายสกุล วงศ์ปาลีย์ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน
บทบาท/การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจการทางการเมืองและการบริหาร
ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน มีส่วนร่วมในการบริหารงานของเทศบาลตำบลเชียง-เคี่ยน การช่วยเหลืองานของเทศบาลตำบลเชียงเคี่ยน เสนอแนะในกิจกรรมของเทศบาลตำบลในการดำเนินงานต่างๆ เช่น การประชุมจัดทำแผนพัฒนาตำบล , ประชุมประชาคมแก้ไขปัญหาความยากจน , ประชุมการจัดอบรมกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ฯลฯ
ข้อมูลด้านการศึกษาคณะผู้บริหาร
คณะผู้บริหาร |
ระดับการศึกษา
|
นายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน |
มัธยมศึกษาตอนปลาย |
รองนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน |
ปวช. |
รองนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน |
มัธยมศึกษาตอนปลาย |
เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลเชียงเคี่ยน |
ปวช. |